เนื้อหาอีบุ๊ค
นับจากโลกได้เผชิญกับ “วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์” ไปแล้วในปี 2551
และกำลังขยายลงลึกมากขึ้นในปี 2554 อาจนำไปสู่ “วิกฤติการเงิน” ครั้งใหม่
หรือที่ผู้เขียนตั้งชื่อไว้ว่า “วิกฤติหมูหัน” ที่ได้ลุกลามจากปัญหาหนี้
สาธารณะของประเทศชายขอบของยูโรโซน อันได้แก่ โปรตุเกส ไอร์แลนด์
อิตาลี กรีซ และสเปน ( PIIGS )
จนเป็นที่หวั่นเกรงกันว่า เศรษฐกิจโลกจะหดตัวทั่วโลกในปี 2555
และจะอาจรุนแรงมากขึ้นในปี 2556 ผลจาก “เชื้อร้าย” ที่มาจากประเทศ
ยูโรโซนกำลังแพร่กระจาย
และยังไม่รู้ว่า โลกจะรับมือกับวิกฤติเศรษฐกิจรอบใหม่ครั้งนี้ อย่างไร
เพราะยาทุกชนิดได้ถูกนำมาใช้ไปหมดแล้ว โดยที่ยังไม่ได้เห็นได้ผลที่ดีขึ้น
“เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก” (Taiji-Econ. จึงถูกหยิบยกขึ้นมา เป็น
“ทางออก” ของการรักษาโรคร้ายที่กำลังคุกคามโลกในขณะนี้
โดยผู้เขียน ได้นำเสนอ “ยา” 4 ชุด อันประกอบด้วย การคลังไท้เก๊ก,
การเงินไท้เก๊ก, FX ไท้เก๊ก และบำนาญไท้เก๊ก เพื่อใช้รักษา “วิกฤติหมูหัน”
ครั้งนี้
หนังสือเล่มนี้ จึงเป็นการเปิด “มุมมองใหม่” ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
ที่ผู้เขียนได้พยายามนำแนวคิดของจีน ทั้งเต๋า และไท้เก๊ก มาใช้ “รับมือ”
กับวิกฤติเศรษฐกิจ “หมูหัน” ที่กำลังก่อตัวขึ้น นับเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน
ทุกท่านที่เฝ้าติดตามสถานการณ์เป็นอย่างยิ่ง
นับจากโลกได้เผชิญกับ “วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์” ไปแล้วในปี 2551
และกำลังขยายลงลึกมากขึ้นในปี 2554 อาจนำไปสู่ “วิกฤติการเงิน” ครั้งใหม่
หรือที่ผู้เขียนตั้งชื่อไว้ว่า “วิกฤติหมูหัน” ที่ได้ลุกลามจากปัญหาหนี้
สาธารณะของประเทศชายขอบของยูโรโซน อันได้แก่ โปรตุเกส ไอร์แลนด์
อิตาลี กรีซ และสเปน ( PIIGS )
จนเป็นที่หวั่นเกรงกันว่า เศรษฐกิจโลกจะหดตัวทั่วโลกในปี 2555
และจะอาจรุนแรงมากขึ้นในปี 2556 ผลจาก “เชื้อร้าย” ที่มาจากประเทศ
ยูโรโซนกำลังแพร่กระจาย
และยังไม่รู้ว่า โลกจะรับมือกับวิกฤติเศรษฐกิจรอบใหม่ครั้งนี้ อย่างไร
เพราะยาทุกชนิดได้ถูกนำมาใช้ไปหมดแล้ว โดยที่ยังไม่ได้เห็นได้ผลที่ดีขึ้น
“เศรษฐศาสตร์ไท้เก๊ก” (Taiji-Econ. จึงถูกหยิบยกขึ้นมา เป็น
“ทางออก” ของการรักษาโรคร้ายที่กำลังคุกคามโลกในขณะนี้
โดยผู้เขียน ได้นำเสนอ “ยา” 4 ชุด อันประกอบด้วย การคลังไท้เก๊ก,
การเงินไท้เก๊ก, FX ไท้เก๊ก และบำนาญไท้เก๊ก เพื่อใช้รักษา “วิกฤติหมูหัน”
ครั้งนี้
หนังสือเล่มนี้ จึงเป็นการเปิด “มุมมองใหม่” ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
ที่ผู้เขียนได้พยายามนำแนวคิดของจีน ทั้งเต๋า และไท้เก๊ก มาใช้ “รับมือ”
กับวิกฤติเศรษฐกิจ “หมูหัน” ที่กำลังก่อตัวขึ้น นับเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน
ทุกท่านที่เฝ้าติดตามสถานการณ์เป็นอย่างยิ่ง